รูปแบบการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม |
| ||||
ความกระทู้ธรรมชั้นตรี (๑) ..................สุภาษิตบทตั้ง.....................
....................คำแปล...................... (๒)ณ บัดนี้.................................................. .................................................. .................................... .................................................. .................................................. .................................................. ....................... (ธรรมศึกษาชั้นตรี กำหนดให้เขียน ๒ หน้ากระดาษเว้นบรรทัดขึ้นไป)
|
เพื่อนบ้าน
| ||||
รูปแบบการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม ธ.ศ.โท สุภาษิตตั้ง (เข้ากลางหน้ากระดาษ) คำแปล (เข้ากลางหน้ากระดาษ)
บทนำ บัดนี้ จักได้อธิบายขยายความตามพุทธศาสนภาษิตที่ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น พอเป็น แนวทางในการศึกษาและปฏิบัติแก่พุทธศาสนิกชนสืบต่อไป อธิบายสุภาษิตตั้ง .........................................................(๑๐ - ๑๕ บรรทัด )......... ........... สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่มาใน...... (ที่มาของศาสนสุภาษิตเชื่อม ) ว่า ( พุทธศาสนสุภาษิตเชื่อม ครั้งที่ ๑ ) คำแปล อธิบายสุภาษิตเชื่อม.....................................................( ๗- ๑๐ บรรทัด)............... ............สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่มาใน...... (ที่มาของศาสนสุภาษิตเชื่อม ) ว่า ( พุทธศาสนสุภาษิตเชื่อม ครั้งที่ ๒) คำแปล อธิบายสุภาษิตเชื่อม.....................................................( ๗- ๑๐ บรรทัด)............... ........................................................................................................... สรุป.......( ๕ - ๘ บรรทัด )..................................................................................... ......................................สมดังสุภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้นว่า พุทธศาสนสุภาษิตตั้ง คำแปล ดังได้อธิบายมาด้วยประการ ฉะนี้ฯ (ธรรมศึกษาชั้นโท กำหนดให้เขียน ๓ หน้ากระดาษเว้นบรรทัดขึ้นไป)
|
|
||||
รูปแบบการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม ธ.ศ.เอก สุภาษิตตั้ง (เข้ากลางหน้ากระดาษ) คำแปล (เข้ากลางหน้ากระดาษ)
บทนำ บัดนี้ จักได้อธิบายขยายความตามพุทธศาสนภาษิตที่ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น พอเป็น แนวทางในการศึกษาและปฏิบัติแก่พุทธศาสนิกชนสืบต่อไป อธิบายสุภาษิตตั้ง .........................................................(๑๐ - ๑๕ บรรทัด )......... ........... สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่มาใน...... (ที่มาของศาสนสุภาษิตเชื่อม ) ว่า ( พุทธศาสนสุภาษิตเชื่อม ครั้งที่ ๑ ) คำแปล อธิบายสุภาษิตเชื่อม.....................................................( ๗- ๑๐ บรรทัด)............... ............สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่มาใน...... (ที่มาของศาสนสุภาษิตเชื่อม ) ว่า ( พุทธศาสนสุภาษิตเชื่อม ครั้งที่ ๒ ) คำแปล อธิบายสุภาษิตเชื่อม.....................................................( ๗- ๑๐ บรรทัด)............... ............สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่มาใน...... (ที่มาของศาสนสุภาษิตเชื่อม ) ว่า ( พุทธศาสนสุภาษิตเชื่อม ครั้งที่ ๓ ) คำแปล อธิบายสุภาษิตเชื่อม.....................................................( ๗- ๑๐ บรรทัด)............... ........................................................................................................... สรุป.......( ๕ - ๘ บรรทัด )..................................................................................... ......................................สมดังสุภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้นว่า พุทธศาสนสุภาษิตตั้ง คำแปล ดังได้อธิบายมาด้วยประการ ฉะนี้ฯ (ธรรมศึกษาชั้นเอก กำหนดให้เขียน ๔ หน้ากระดาษเว้นบรรทัดขึ้นไป)
|
|||||